เนื้อที่ไม่ควรบริโภค และควรบริโภค 3 อย่าง
ดูกรชีวก ชนใดกล่าวอย่างนี้ว่า
ชนทั้งหลายย่อมฆ่าสัตว์เจาะจงพระสมณโคดม
พระสมณโคดมทรงทราบข้อนั้นอยู่ ก็ยังเสวยเนื้อสัตว์
ที่เขาทำเฉพาะตน อาศัยตนทำ ดังนี้
ชนเหล่านั้นจะชื่อว่ากล่าวตรงกับที่เรากล่าวหามิได้
ชื่อว่ากล่าวตู่เราด้วยคำอันไม่เป็นจริง
ดูกรชีวก เรากล่าวเนื้อว่า ไม่ควรเป็นของบริโภค
ชนทั้งหลายย่อมฆ่าสัตว์เจาะจงพระสมณโคดม
พระสมณโคดมทรงทราบข้อนั้นอยู่ ก็ยังเสวยเนื้อสัตว์
ที่เขาทำเฉพาะตน อาศัยตนทำ ดังนี้
ชนเหล่านั้นจะชื่อว่ากล่าวตรงกับที่เรากล่าวหามิได้
ชื่อว่ากล่าวตู่เราด้วยคำอันไม่เป็นจริง
ดูกรชีวก เรากล่าวเนื้อว่า ไม่ควรเป็นของบริโภค
ด้วยเหตุ ๓ ประการ คือ
เนื้อที่ตนเห็น
เนื้อที่ตนได้ยิน
เนื้อที่ตนรังเกียจ
ดูกรชีวก เรากล่าวเนื้อว่าเป็นของไม่ควรบริโภค
เนื้อที่ตนเห็น
เนื้อที่ตนได้ยิน
เนื้อที่ตนรังเกียจ
ดูกรชีวก เรากล่าวเนื้อว่าเป็นของไม่ควรบริโภค
ด้วยเหตุ ๓ ประการ นี้แล
ดูกรชีวก เรากล่าวเนื้อว่า เป็นของควรบริโภค
ด้วยเหตุ ๓ ประการ คือ
เนื้อที่ตนไม่ได้เห็น
เนื้อที่ตนไม่ได้เห็น
เนื้อที่ตนไม่ได้ยิน
เนื้อที่ตนไม่ได้รังเกียจ
ดูกรชีวก เรากล่าวเนื้อว่า เป็นของควรบริโภค
ดูกรชีวก เรากล่าวเนื้อว่า เป็นของควรบริโภค
ด้วยเหตุ ๓ ประการนี้แล.
พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑๓
สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์หน้าที่ ๔๒ข้อที่ ๕๖ - ๕๗
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น